1.
กำหนดจุดเริ่มต้นด้วยคำว่า“Begin”และจุดสิ้นสุดด้วยคำว่า“End”
3.
การเขียนรหัสเทียมแต่ละคำสั่งควรเขียนเป็นบรรทัด ๆ
4.
ควรมีการย่อหน้า เพื่อสะดวกต่อการอ่านและการตรวจสอบ
5.
การเขียนรหัสเทียมจะเขียนจากบนลงล่าง และมีทางเข้าหนึ่งทาง
ทางออกหนึ่งทาง
6.
การเขียนรหัสเทียมจะไม่เขียนหมายเลขกำกับในแต่ละขั้นตอน
7.
ควรใช้การย่อหน้าให้เป็นประโยชน์ การแยกคำเฉพาะ ( Keywords )
ให้มีความชัดเจน นอกจากนี้
ควรจัดรูปแบบโครงสร้างควบคุมให้เป็นสัดส่วน เพื่อให้อ่านง่าย
8.
กลุ่มประโยคคำสั่งต่าง ๆ
อาจถูกนำมาจัดรวมกลุ่มเข้าด้วยกันในรูปแบบของโมดูล และทำการกำหนดชื่อโมดูลขึ้นมา
เพื่อให้ส่วนของโปรแกรมหลัก หรือโมดูลย่อยอื่น ๆ เรียกใช้งานได้
ประโยชน์ของรหัสเทียม
1.
เป็นเครื่องมือในการกำหนดโครงร่างกระบวนการทำงานของการเขียนโปรแกรมแต่ละโปรแกรม
2.
เป็นต้นแบบในการทบทวน
ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาโปรแกรมของโปรแกรมเมอร์ และนักวิเคราะห์ระบบ
3.
เป็นตัวกำหนดงานเขียนโปรแกรม
เพื่อให้โปรแกรมเมอร์นำไปพัฒนาเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามกระบวนการที่ได้จำลองกระบวนการจริงไว้ในรหัสเทียม
หรือ ซูโดโค้ด
วิธีเขียนรหัสเทียม
1.
ประโยคคำสั่ง (Statement)
จะอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษอย่างง่าย
2.
ในหนึ่งบรรทัด
ให้เขียนประโยคคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวเท่านั้น
3.
ควรใช้ย่อหน้าเพื่อแยกแยะคำเฉพาะ
(Keywords)
ได้ชัดเจน รวมถึงโครงสร้างการควบคุมให้เป็นสัดส่วน
ซึ่งช่วยให้อ่านโค้ดได้ง่าย
4.
แต่ละประโยคคำสั่งให้เขียนลำดับจากบนลงล่าง
โดยมีทางเข้าของข้อมูลเพียงทางเดียว และมีทางออกของข้อมูลทางเดียวเท่านั้น
5.
กลุ่มของประโยคคำสั่งจ่างๆ
อาจจัดรวมกลุ่มเข้าด้วยกันในรูปแบบของมอดูล แต่ต้องมีการกำหนดชื่อของมอดูลด้วย
เพื่อให้สามารถเรียกใช้งานมอดูลนั้นได้
การเขียนรหัสเทียม หรือ ซูโดโค้ด หลักการเขียนรหัสเทียม
1.หลักการเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎหรือมาตรฐานที่ตายตัว ผู้เขียนจึงอยากให้ผู้อ่านได้นำไปใช้เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนรหัสเทียมที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
โดยการรวบรวมหลักการต่าง ๆ ที่สำคัญเอาไว้
2.
ถ้อยคำต่าง ๆ ให้เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น